ข้อปฏิบัติในการสอนภาษา
เมื่อวันพุธ ที่21 มกราคม2552อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มออกไปนำเสนอ กลุ่มของพวกเราออกไปแสดงละครค่ะ มีครูไปสอนเด็กๆและมีตำรวจ โดยดิฉันรับบทเป็นนักเรียน ครูจะถามเด็กว่าอยากเป็นอะไรกันค่ะ แล้วก็ดึงเข้าสู่อาชีพชาวนา โดยครูจะร้องเพลงให้พวกนักเรียนฟังและอธบายถึงชาวนาให้ฟัง จากนั้นก็เลิกเรียนค่ะข้อควรปฏิบัติในการสอนภาษา1.ควรสอนในสภาพที่เป็นธรรมชาติที่สุด ไม่ใช่การจับเด็กมานั่งเรียนอย่างเดียว2.ควรสอนโดยการไม่มีการแบ่งแยกกลุ่มเด็กเก่งเด็กอ่อน การแบ่งแยกกลุ่มเด็กเก่งเด็กอ่อน จะเป็นการสร้างปมด้อยหรือสร้างความไม่เชื่อมั่นในตนเองให้แก่เด็ก เด็กทุกคนควรมีโอกาสในการเรียนที่เท่ากัน3.การที่เด็กเกิดมาพร้อมกับความสนใจอยากรู้อยู่แล้ว จะเป็นแรงกระตุ้นให้เขาสามารถจำคำต่างๆ โดยครูอาจใช้ความคิดเกี่ยวข้องกับภาษาของเด็กมาสอน4.ครูควรหาโอกาสให้เด็กได้ใช้ทักษะที่ได้เรียนมาในชีวิตประจำวัน5.ครูต้องจัดเตรียมอุปกรณ์การเรียนให้พร้อม
วันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
บันทึกการเข้าเรียนวันที่7มกราคม2552
การจัดสภาพแวดล้อมจัดให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระและกิจกรรมโดยการจัดพื้นที่ภายในห้องเรียนที่สามารถตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของเด็กที่มีความแตกต่างหลากหลายได้การจัดห้องเรียนควรเป็นสถานที่ที่เด็กได้อยู่ในโลกของภาษาตัวหนังสือ สัญลักษณ์ที่มีความหมายต่อเรื่องที่เรียน มีมุมที่เด็กสนใจ โดยเด็กสามารถเข้าไปเรียนรู้ ซึมซับอย่างเอิบอาบไปด้วยภาษาได้ตลอดเวลาการจัดสภาพแวดล้อมในมุมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการใช้ภาษาอย่างมีความหมายต่อเด็ก- มุมบ้าน เด็กจะเข้ามาในบ้าน พูดคุยเล่นกัน มีการสื่อสารระหว่างกันขณะทำกิจกรรมต่างๆ เช่น รีดเสื้อผ้า ล้างชามในครัว ทำครัว ซึ่งช่วยให้เด็กพัฒนาตนเอง ได้เรียนรู้จากเพื่อน เตรียมกระดาษ ดินสอ ให้บันทึกข้อความจากการโทรศัพท์ถึงคุณแม่คุณพ่อมีการจดรายการเตรียมไปจ่ายตลาดกับคุณแม่- มุมหมอ เด็กจะได้เล่นบทบาทสมมติเป็นหมอ เป็นคนไข้ ฝึกการใช้ภาษาในอธิบายอาการป่วยไข้ ใช้ภาษาสื่อสารกับคุณหมอ พยาบาล มีการนัดหมายกับหมอ โดยจดการนัดหมายลงในสมุดนัดคนไข้ คุณหมอมีการเขียนใบวินิจฉัยโรค และเขียนใบสั่งยาให้คนไข้ แม้เด็กจะยังเขียนไม่เป็น แต่ก็จะชอบหัดเขียน- มุมตลาด เด็กได้ฝึกหัดการสนทนาสื่อสาร โต้ตอบระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย ใช้เครื่องมือ ชั่ง น้ำหนัก ตวง วัดปริมาณ คำนวณเงินในการใช้จ่าย เงินทอน- มุมจราจร เด็กได้เรียนรู้สัญลักษณ์จราจร การปฏิบัติตามสัญลักษณ์ ป้ายบอกทางต่างๆ รู้จักทิศทาง ซ้าย ขวา การแสดงบทบาทต่าง ๆ*มุมที่ดีคือมุมที่ครูจัดสภาพแวดล้อม จัดวางกระดาษ ดินสอ สื่อ อุปกรณ์ หนังสือขั้นตอนการทำงานไว้ชัดเจนแล้วเด็กจะเข้าไปเล่นเรียนรู้ได้เองทั้งที่ต้องการและไม่ต้องการความช่วยเหลือจากครู เด็กจะสนทนาหรือขีดเขียนในสิ่งที่ ผู้ใหญ่อาจไม่เข้าใจกระบวนการเรียนรู้แบบธรรมชาติตามวัยวุฒิของเด็ก ครูต้องมีความเชื่อมั่นและไว้วางใจในตัวเด็กว่าเขาสามารถทำงานต่าง ๆ ได้ ถ้ามีความสนใจ มีฉันทะเกิดขึ้นแล้ว พฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กจะเกิดขึ้นเอง ซึ่งครูทุกคนต้องสังเกตตลอดเวลาให้เกิดเป็นประสบการณ์ตรงของครู สร้างองค์ความรู้ด้านพัฒนาการของเด็กที่เป็นความรู้ประจักษ์อยู่ในงานของครูเองบทบาทของครูเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เด็กมีอยู่เดิมให้สัมพันธ์กับกิจกรรมที่จัดขึ้นซึ่งอาจเป็นการเล่าเรื่องที่เด็กเคยพบเห็น การเปิดโอกาสให้เด็กพูดจากความคิดหรือประสบการณ์ในขณะฟังเรื่องจากหนังสือที่ครูเลือกและจัดหาหนังสือที่เหมาะกับวัยไว้ในชั้นเรียนเพื่อให้เด็กมีโอกาสหยิบมาอ่านหรือพลิกดูเสมอเพื่อเป็นการสร้างความคุ้นเคยกับภาพความคิดและตัวหนังสือบรรยากาศการสอนแนวใหม่เด็กจะแสดงความต้องการให้ครูเห็นว่าเขาต้องการเขียนสิ่งที่มีความหมายสิ่งที่เขายากบอกให้ผู้อื่นเข้าใจ การเขียนระยะแรกจึงเป็นการที่เด็กสร้างความคิดซึ่งเกิดจากประสบการณ์ของเด็กและความต้องการสื่อความหมายให้ผู้อื่นทราบเด็กจะเขียนเส้นขยุกขยิกคล้ายตัวหนังสือหรือเขียนสะกดบางคําได้แต่ยังไม่ถูกต้องการประเมินผลครูพิจารณาจากการสังเกต การบันทึก การเก็บร่องรอยทางภาษาของเด็กขณะทํากิจกรรมต่างๆ และการสะสมชิ้นงาน เป็นการประเมินการเรียนรู้ภาษาจากสภาพจริง
การจัดสภาพแวดล้อมจัดให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระและกิจกรรมโดยการจัดพื้นที่ภายในห้องเรียนที่สามารถตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของเด็กที่มีความแตกต่างหลากหลายได้การจัดห้องเรียนควรเป็นสถานที่ที่เด็กได้อยู่ในโลกของภาษาตัวหนังสือ สัญลักษณ์ที่มีความหมายต่อเรื่องที่เรียน มีมุมที่เด็กสนใจ โดยเด็กสามารถเข้าไปเรียนรู้ ซึมซับอย่างเอิบอาบไปด้วยภาษาได้ตลอดเวลาการจัดสภาพแวดล้อมในมุมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการใช้ภาษาอย่างมีความหมายต่อเด็ก- มุมบ้าน เด็กจะเข้ามาในบ้าน พูดคุยเล่นกัน มีการสื่อสารระหว่างกันขณะทำกิจกรรมต่างๆ เช่น รีดเสื้อผ้า ล้างชามในครัว ทำครัว ซึ่งช่วยให้เด็กพัฒนาตนเอง ได้เรียนรู้จากเพื่อน เตรียมกระดาษ ดินสอ ให้บันทึกข้อความจากการโทรศัพท์ถึงคุณแม่คุณพ่อมีการจดรายการเตรียมไปจ่ายตลาดกับคุณแม่- มุมหมอ เด็กจะได้เล่นบทบาทสมมติเป็นหมอ เป็นคนไข้ ฝึกการใช้ภาษาในอธิบายอาการป่วยไข้ ใช้ภาษาสื่อสารกับคุณหมอ พยาบาล มีการนัดหมายกับหมอ โดยจดการนัดหมายลงในสมุดนัดคนไข้ คุณหมอมีการเขียนใบวินิจฉัยโรค และเขียนใบสั่งยาให้คนไข้ แม้เด็กจะยังเขียนไม่เป็น แต่ก็จะชอบหัดเขียน- มุมตลาด เด็กได้ฝึกหัดการสนทนาสื่อสาร โต้ตอบระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย ใช้เครื่องมือ ชั่ง น้ำหนัก ตวง วัดปริมาณ คำนวณเงินในการใช้จ่าย เงินทอน- มุมจราจร เด็กได้เรียนรู้สัญลักษณ์จราจร การปฏิบัติตามสัญลักษณ์ ป้ายบอกทางต่างๆ รู้จักทิศทาง ซ้าย ขวา การแสดงบทบาทต่าง ๆ*มุมที่ดีคือมุมที่ครูจัดสภาพแวดล้อม จัดวางกระดาษ ดินสอ สื่อ อุปกรณ์ หนังสือขั้นตอนการทำงานไว้ชัดเจนแล้วเด็กจะเข้าไปเล่นเรียนรู้ได้เองทั้งที่ต้องการและไม่ต้องการความช่วยเหลือจากครู เด็กจะสนทนาหรือขีดเขียนในสิ่งที่ ผู้ใหญ่อาจไม่เข้าใจกระบวนการเรียนรู้แบบธรรมชาติตามวัยวุฒิของเด็ก ครูต้องมีความเชื่อมั่นและไว้วางใจในตัวเด็กว่าเขาสามารถทำงานต่าง ๆ ได้ ถ้ามีความสนใจ มีฉันทะเกิดขึ้นแล้ว พฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กจะเกิดขึ้นเอง ซึ่งครูทุกคนต้องสังเกตตลอดเวลาให้เกิดเป็นประสบการณ์ตรงของครู สร้างองค์ความรู้ด้านพัฒนาการของเด็กที่เป็นความรู้ประจักษ์อยู่ในงานของครูเองบทบาทของครูเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เด็กมีอยู่เดิมให้สัมพันธ์กับกิจกรรมที่จัดขึ้นซึ่งอาจเป็นการเล่าเรื่องที่เด็กเคยพบเห็น การเปิดโอกาสให้เด็กพูดจากความคิดหรือประสบการณ์ในขณะฟังเรื่องจากหนังสือที่ครูเลือกและจัดหาหนังสือที่เหมาะกับวัยไว้ในชั้นเรียนเพื่อให้เด็กมีโอกาสหยิบมาอ่านหรือพลิกดูเสมอเพื่อเป็นการสร้างความคุ้นเคยกับภาพความคิดและตัวหนังสือบรรยากาศการสอนแนวใหม่เด็กจะแสดงความต้องการให้ครูเห็นว่าเขาต้องการเขียนสิ่งที่มีความหมายสิ่งที่เขายากบอกให้ผู้อื่นเข้าใจ การเขียนระยะแรกจึงเป็นการที่เด็กสร้างความคิดซึ่งเกิดจากประสบการณ์ของเด็กและความต้องการสื่อความหมายให้ผู้อื่นทราบเด็กจะเขียนเส้นขยุกขยิกคล้ายตัวหนังสือหรือเขียนสะกดบางคําได้แต่ยังไม่ถูกต้องการประเมินผลครูพิจารณาจากการสังเกต การบันทึก การเก็บร่องรอยทางภาษาของเด็กขณะทํากิจกรรมต่างๆ และการสะสมชิ้นงาน เป็นการประเมินการเรียนรู้ภาษาจากสภาพจริง
วันศุกร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2552
บันทึกการเข้าเรียน วันที่3 ธันวาคม 2551
ทฤษฏีที่เป็นกุญแจสำคัญของการสะท้อนความติดต่อการสอนของครู ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนรู้ครูผู้สอนควรบูรณาการด้านภาษาให้กลมกลื่นไปกับการเรียนรู้ทุกเรื่องในหลักสูตร ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของนักทฤษฏีกระบวนการบรรยากาศการเรียน มีลักษณะของความร่วมมือกันระหว่างครูและเด็ก ตั้งเต่การวางแผน คือคิดด้วยกันว่าจะทำอะไร ทำเมื่อไหร ทำอย่างไร จำเป็นต้องใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร จะหาสิ่งที่ต้องการมาได้อย่างไร และใครจะช่วยทำงานในช่วงใดการวางแผนจะมีระยะยาว เมื่อกรอบความคิดกว้าง แผนระยะสั้น โดยเด็กและครูจะใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหารายระเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรมการฟังและการพูดของเด็ก เด็กมีโอกาศได้ยินเสียงแม่พูด แม้ว่าจะยังพูดไม่ได้ เด็กเกิดการเรียนรู้ภาษาเพราะการสอนไห้เด็กพูดนั้น เด็กจำเป็นต้องไดยิน ได้ฟังภาษาพูดก่อนยิ่งให้ฟังมากจำเข้าใจชัดเจนขึ้น และยิ่งเรียนรู้คำศัพท์มากขึ้นการเรียนรู้เด็กวัย 2 -3 ขวบการพูดของเเม่จะช่วยให้ลูกมีพัฒนาการทางภาษาที่ดี การสนทนา การซักถาม เกี่วกับกิจวัตรประจำวันเป็นสิ่งจำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ในด้านการใจความหมายของภาษาจากง่ายไปจนถึงเรื่องยากและสลับซับซ้อนมากขึ้นภาษามีบทบาทในการสื่อความคิดรวมไปถึงจินตนาการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตนได้เป็นอย่างดีการอ่านและการเขียนการอ่นหนังสือให้เด็กฟังทุกวันเป็นสิ่งจำเป็นในการให้โอกาสเด็กเรียนรู้เพื่อพัฒนาภาเขียน ในขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสื่อประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้กฏเกณฑ์ทุกขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือการให้เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจประเด็นที่อ่านว่าสิ่งที่ประกอบกันขึ้นทั้งหมดคือรวมเป็นเนื้อหาที่นำเสนอระบบการคิดผ่านไวยากรณ์ของภาษาควรสนทนากับเด็กเกี่ยวกับกฏเกณฑ์ทางภาษาอย่างง่าย ๆ เนื้อหาที่อ่านควรสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และพยายยามเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของเด็กตลอดเวลาเพื่อให้เด็กเห็นประโยชน์และควาเกี่ยวพันของภาเขียนกับชีวิตจริง จึงกล่าวไดว่า กรเขียนหมายถึงการสื่อสารเพื่อแสดงความคิดความรู้สึกออกมาอย่างมีความหมายการเขียนและการอ่านจะดำเนินไปพร้อม ๆ กัน เนื่องจากการเป็นนักเขียนที่ดีได้นั้นต้องอาศัยการอ่านที่แตกฉานในเรื่องนั้น ๆ ส่วนการฝึกฝนให้เด็กเขียนหนังสือนั้น ครูต้องตระหนักว่าการฝึกเขียนที่ให้ลอกเลียนแบบโดยเด็กไม่ได้ใช้ความคิด แต่เป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือหรือฝึกเฉพาะความสวยงามของลายมือแตกต่างโดยสิ้นเชิง กับการเขียนที่มาจากความคิดภาษาที่ได้จากการฝึกคิดและถ่ายถอดความคิดออกมาเเป็นภาสัญญลักณษ์ คือ ตัวอักษรอย่างธรรมชาติจากการฟังมาก ได้อ่านมาก จนสามารถถ่ายถอดเองได้ และการฝึกฝนความถูกต้องภายหลังส่วนการอ่านนั้นสามารถทำได้ตลอดเวลาด้วยการอ่านหนังสือความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมือได้รับโอกาสในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับกรอ่านร่วมกับผู้ใหญ่ และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบ ๆ ตามลำพัง การอ่านกับเขียนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออธิบายรวมกัน ในการรับฟัง เเละตรวจสอบความคิดความรู้ความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะกรอ่านจากสิ่งที่ครู - เด็ก เขียนร่วมกัน หรือสิ่งที่เด็กเขียนนั้นเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)