วันศุกร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2552

บันทึกการเข้าเรียน วันที่3 ธันวาคม 2551

ทฤษฏีที่เป็นกุญแจสำคัญของการสะท้อนความติดต่อการสอนของครู ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนรู้ครูผู้สอนควรบูรณาการด้านภาษาให้กลมกลื่นไปกับการเรียนรู้ทุกเรื่องในหลักสูตร ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของนักทฤษฏีกระบวนการบรรยากาศการเรียน มีลักษณะของความร่วมมือกันระหว่างครูและเด็ก ตั้งเต่การวางแผน คือคิดด้วยกันว่าจะทำอะไร ทำเมื่อไหร ทำอย่างไร จำเป็นต้องใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร จะหาสิ่งที่ต้องการมาได้อย่างไร และใครจะช่วยทำงานในช่วงใดการวางแผนจะมีระยะยาว เมื่อกรอบความคิดกว้าง แผนระยะสั้น โดยเด็กและครูจะใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหารายระเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรมการฟังและการพูดของเด็ก เด็กมีโอกาศได้ยินเสียงแม่พูด แม้ว่าจะยังพูดไม่ได้ เด็กเกิดการเรียนรู้ภาษาเพราะการสอนไห้เด็กพูดนั้น เด็กจำเป็นต้องไดยิน ได้ฟังภาษาพูดก่อนยิ่งให้ฟังมากจำเข้าใจชัดเจนขึ้น และยิ่งเรียนรู้คำศัพท์มากขึ้นการเรียนรู้เด็กวัย 2 -3 ขวบการพูดของเเม่จะช่วยให้ลูกมีพัฒนาการทางภาษาที่ดี การสนทนา การซักถาม เกี่วกับกิจวัตรประจำวันเป็นสิ่งจำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ในด้านการใจความหมายของภาษาจากง่ายไปจนถึงเรื่องยากและสลับซับซ้อนมากขึ้นภาษามีบทบาทในการสื่อความคิดรวมไปถึงจินตนาการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตนได้เป็นอย่างดีการอ่านและการเขียนการอ่นหนังสือให้เด็กฟังทุกวันเป็นสิ่งจำเป็นในการให้โอกาสเด็กเรียนรู้เพื่อพัฒนาภาเขียน ในขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสื่อประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้กฏเกณฑ์ทุกขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือการให้เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจประเด็นที่อ่านว่าสิ่งที่ประกอบกันขึ้นทั้งหมดคือรวมเป็นเนื้อหาที่นำเสนอระบบการคิดผ่านไวยากรณ์ของภาษาควรสนทนากับเด็กเกี่ยวกับกฏเกณฑ์ทางภาษาอย่างง่าย ๆ เนื้อหาที่อ่านควรสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และพยายยามเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของเด็กตลอดเวลาเพื่อให้เด็กเห็นประโยชน์และควาเกี่ยวพันของภาเขียนกับชีวิตจริง จึงกล่าวไดว่า กรเขียนหมายถึงการสื่อสารเพื่อแสดงความคิดความรู้สึกออกมาอย่างมีความหมายการเขียนและการอ่านจะดำเนินไปพร้อม ๆ กัน เนื่องจากการเป็นนักเขียนที่ดีได้นั้นต้องอาศัยการอ่านที่แตกฉานในเรื่องนั้น ๆ ส่วนการฝึกฝนให้เด็กเขียนหนังสือนั้น ครูต้องตระหนักว่าการฝึกเขียนที่ให้ลอกเลียนแบบโดยเด็กไม่ได้ใช้ความคิด แต่เป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือหรือฝึกเฉพาะความสวยงามของลายมือแตกต่างโดยสิ้นเชิง กับการเขียนที่มาจากความคิดภาษาที่ได้จากการฝึกคิดและถ่ายถอดความคิดออกมาเเป็นภาสัญญลักณษ์ คือ ตัวอักษรอย่างธรรมชาติจากการฟังมาก ได้อ่านมาก จนสามารถถ่ายถอดเองได้ และการฝึกฝนความถูกต้องภายหลังส่วนการอ่านนั้นสามารถทำได้ตลอดเวลาด้วยการอ่านหนังสือความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมือได้รับโอกาสในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับกรอ่านร่วมกับผู้ใหญ่ และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบ ๆ ตามลำพัง การอ่านกับเขียนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออธิบายรวมกัน ในการรับฟัง เเละตรวจสอบความคิดความรู้ความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะกรอ่านจากสิ่งที่ครู - เด็ก เขียนร่วมกัน หรือสิ่งที่เด็กเขียนนั้นเอง

ไม่มีความคิดเห็น: